พระราชาพระองค์หนึ่ง พระนามว่า "พรหมทัต" ครอง
ราชสมบัติอยู่ที่เมืองพาราณสี พระโอรสทรงดำรง ตำแหน่งอุปราช
อยู่ต่อมาพระราชาทรงระแวงว่า พระโอรสจะคิดขบถ แย่งราชสมบัติ จึงมีโองการให้
พระโอรสออกไปอยู่ให้ไกลเสียจากเมือง จนกว่าพระราชา จะสิ้น อ่านเพิ่มเติม
วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559
จันทกุมารชาดก
ในครั้งโบราณ เมืองพารานสี มีชื่อว่า บุปผวดี มีกษัตริย์ ทรงพระนามว่า
พระเจ้าเอกราชา พระราชบุตรองค์ใหญ่ พระนามว่า จันทกุมาร ดำรงตำแหน่งเป็นอุปราช และ
พราหมณ์ชื่อกัณฑหาล เป็นปุโรหิตในราชสำนัก กัณฑหาล
มีหน้าที่ตัดสินคดีความอีกตำแหน่ง แต่กัณฑ อ่านเพิ่มเติม
พรหมนารทชาดก
พระราชาองค์หนึ่ง ทรงพระนามว่า อังคติราช ครองเมืองมิถิลา
เป็นผู้ที่ตั้งมั่นในทศพิธราชธรรม พระธิดาของพระเจ้าอังคติราชมีพระนามว่า
รุจาราชกุมารี มีรูปโฉมงดงาม พระราชาทรง รักใคร่พระธิดา อย่างยิ่ง
คืนวันหนึ่งเป็นเทศกาลมหรสพ ประชาชนพากัน ตก อ่านเพิ่มเติม
วิธุรชาดก
ในเมืองอินทปัตต์ แคว้นกุรุ พระราชาทรง พระนามว่า ธนัญชัย
ทรงมีนักปราชญ์ประจำ ราชสำนักชื่อว่า วิธุร วิธุรเป็นผู้มีวาจาฉลาด หลักแหลม
เมื่อจะกล่าวถ้อยคำสิ่งใด ก็สามารถ ทำให้ผู้ฟังเกิดความเลื่อมใสครัทธราและ
ชื่นชมยินดีในถ้อยคำนั้น ในครั้งนั้น มีพราหมณ์ อ่านเพิ่มเติม
เวสสันดรชาดก
พระเจ้าสญชัย ทรงครองราชสมบัติเมืองสีพี มีพระมเหสีทรงพระนามว่า
พระนางผุสดี ธิดาพระเจ้ากรุงมัททราช พระนางผุสดีนี้ในชาติก่อนๆ
ได้เคยถวายแก่นจันทน์หอม
เป็นพุทธบูชาและอธิษฐานขอให้ได้เป็นพุทธมารดาพระพุทธเจ้าในกาลอนาคต ครั้นเมื่อนางสิ้นชีวิ อ่านเพิ่มเติม
สุวรรณสามชาดก
ครั้งหนึ่ง มีสหายสองคนรักใคร่กันมาก ต่างก็ตั้งบ้านเรือน
อยู่ใกล้เคียงกัน ไปมาหาสู่กันอยู่เสมอ ทั้งสองคนตั้งใจว่า ถ้าฝ่ายหนึ่งมีลูกสาว
อีกฝ่ายหนึ่งมีลูกชาย ก็จะให้แต่งงาน เพื่อครอบครัวทั้งสองฝ่ายจะได้
ผูกพันใกล้ชิดกันไม่มีเสื่อมคลาย อยู่ต่อมาฝ่ายหนึ่งก็มีลูกชายชื่อว่า ทุกูลกุม อ่านเพิ่มเติม
มหาชนกชาดก
ณ เมืองมิถิลาแห่งรัฐวิเทหะ พระเจ้าแผ่นดิน ทรงพระนามว่า
พระเจ้ามหาชนก ทรงมีพระโอรสสององค์ คือ
เจ้าอริฏฐชนก และ เจ้าโปลชนก เจ้าอริฏฐชนกทรงเป็นอุปราช ส่วนเจ้าโปลชนกทรง เป็นเสนาบดี เมื่อพระราชบิดาสวรรคต เจ้าอริฏฐชนกผู้เป็นอุปราช ก็ได้ครองบ้านเมืองต่อมา เจ้าโปลช อ่านเพิ่มเติม
เจ้าอริฏฐชนก และ เจ้าโปลชนก เจ้าอริฏฐชนกทรงเป็นอุปราช ส่วนเจ้าโปลชนกทรง เป็นเสนาบดี เมื่อพระราชบิดาสวรรคต เจ้าอริฏฐชนกผู้เป็นอุปราช ก็ได้ครองบ้านเมืองต่อมา เจ้าโปลช อ่านเพิ่มเติม
เตมียชาดก
พระราชาพระองค์หนึ่ง ทรงพระนามว่า พระเจ้ากาสิกราช ครองเมืองชื่อว่า
พาราณสี มีพระมเหสี พระนามว่า จันทรเทวี
พระราชาไม่มีพระราชโอรสที่จะครองเมืองต่อจากพระองค์ จึงโปรดให้
พระนางจันทรเทวีทำพิธีขอพระโอรสจากเทพเจ้า พระนางจันทรเทวีจึงทรงอธิษฐานว่า "ข้าพเจ้าได้รักษาศีล
บริสุ อ่านเพิ่มเติม
ชาดก
ชาดก (สันสกฤต: บาลี: जातक) คือ เรื่องราวหรือชีวประวัติในอดีตชาติของพระโคตมพุทธเจ้า คือ
สมัยที่พระองค์เป็นพระโพธิสัตว์บำเพ็ญบารมีอยู่
พระองค์ทรงนำมาเล่าให้พระสงฆ์ฟังในโอกาสต่าง
ๆ เรียกเรื่องในอดีตของพระองค์นี้ว่า ชาดก ชา อ่านเพิ่มเติม
วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2559
ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนานอกจากจะเป็นศาสนาประจำชาติไทย
และเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทยแล้วพระพุทธศาสนายังเป็นรากฐานสำคัญของวัฒนธรรมไทยอีกด้วย
จะเห็นได้จากวิถีชีวิตของคนไทยที่ผูกพันอยู่กับพระพุทธศาสนา ความคิดและกิจกรรม อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)